Ar DrP Ko

ผศ.ดร. พัชราวดี  วัฒนวิกย์กิจ

Asst. Prof. Dr. Patcharawadee Wattanawikkit

ห้องพัก : ห้อง SCL 518 ชั้น 5 ตึก SCL ภาควิชาชีววิทยา 
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 

E-mail :  This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it. This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.

 

 

โทรศัพท์ : 0-2310-8418

 

 

 

การศึกษา

2535 ปริญญาตรี (วท.บ.) พัฒนาการเกษตร                         สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 

2542 ปริญญาโท (วท.ม.) พฤกษศาสตร์                               มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2547 ปริญญาเอก (ปร.ด.) พฤกษศาสตร์                              มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 ความถนัด/ ความเชี่ยวชาญ 

- การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

- การขยายพันธุ์พืช

- การปรับปรุงพันธุ์พืช

- สรีรวิทยาของพืช

วิชาสอน

1. การเกษตรเบื้องต้น (AGR1003)

2. ชีววิทยาเบื้องต้น (BIO1001)

3. หลักชีววิทยา (BIO1105)

4. ปฏิบัติการหลักชีววิทยา (BIO1106)

5. การสำรวจอาณาจักรพืช (BOT1003)

6. วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน 2 (SCO1002)

7. พฤกษศาสตร์ (BOT2101)

8. สรีรวิทยาของพืช (BOT3501)

9. การขยายพันธุ์พืช (BOT3802)

10. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (BOT3804)

11. การผสมพันธุ์พืช (BOT4701)

12. ชีวโมเลกุลของพืช (BOT4702)

13. ชีววิทยาทางน้ำ (BID4801)

14. ปัญหาพิเศษทางพฤกษศาสตร์(BOT4902)

15. เมแทบอลิซึมของพืช (BIO7301)

16. การเจริญเติบโตและการพัฒนาการของพืช (BIO7311)

17. การกำเนิดทางสัณฐานวิทยาของพืช (BIO7312)  

 งานวิจัย 

 พ.ศ. 2561 โครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาเทคนิคขยายพันธุ์มะแหลบโดยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ” (Development of Tissue Culture Propagation Techniques ofHeracleum siamicum Craib.) รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบรายได้ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๑

 

พ.ศ. 2559 โครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาวิธีการขยายพันธุ์ที่เหมาะสมกับมะแขว่น (ผู้ร่วมวิจัย) ” ซึ่งเป็นโครงการย่อยในแผนงานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาศักยภาพการผลิตมะแขว่นสู่พืชเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอาหาร” และได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยผ่านการตรวจสอบและพิจารณาจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

 

พ.ศ. 2558 โครงการวิจัยเรื่อง การขยายพันธุ์มะแขว่น (Zanthoxylum limonella Alston) ที่มีสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพสูงในสภาพปลอดเชื้อ เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตสู่อุตสาหกรรมเกษตร” ซึ่งเป็นโครงการย่อยในแผนงานวิจัย เรื่อง “การพัฒนาศักยภาพการผลิตมะแขว่นสู่พืชเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมอาหาร” และได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยผ่านการตรวจสอบและพิจารณาจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

 

พ.ศ. 2556-2559 เรื่อง ความหลากหลายทางชีวภาพของไลเคนในพื้นที่มหาวิทยาลัยรามคำแหงสาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติจังหวัดกาญจนบุรีนครพนมสุโขทัยและสุรินทร์สนองพระราชดำริโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริฯสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ  สยามบรมราชกุมารี

ผลงานวิจัยตีพิมพ์เผยแพร่

 1. Watanawikkit, P.,Tantiwiwat, S., Bunn, E., Dixon, K.W. and Chayanarit, K. 2012.Cryopreservation of in vitro-propagated protocorms of Caladenia for terrestrial orchid conservation in Western Australia. Bot. J. Linn. Socie.,170: 277-282.

2. Wattanawikkit, P., Bunn, E., Chayanarit, K. and Tantiwiwat, S.2011. Effect of cytokinins (BAP and TDZ) and auxin (2,4-D) on growth and development ofPaphiopedilumcallosum.Kasetsart J. (Nat. Sci.), 45: 12-19.

3. Okunishi, T., Takaku, N., Wattanawikkit, P., Sakakibara, N., Suzuki, S., Sakai, F., Umezawa, T. and Shimada, M..2002. Lignan productioninDaphne odora cell cultures. J. Wood Sci. Publisher.48 (3): 237-241.

4. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ และภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ. 2562  ผลของ 2,4-dichlorophenoxy acetic acid ในการชักนำให้เกิดแคลลัสของมะแขว่น.การประชุมพืชสวนแห่งชาติครั้งที่17

5. พัชรินทร์ โพธิ์ทอง โสภณ บุญมีวิเศษ หฤษฎ์ นิ่มรักษา และพัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ 2562.อิทธิพลของปุ๋ยอินทรีย์ต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณจุลินทรีย์และผลผลิตของหม่อนพันธุ์สกลนคร. วารวิจัยรามคำแหงสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.ปีที่22ฉบับ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม)

6. เพชรตะวัน จันทร์ขอนแก่น พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ และโสภณ บุญมีวิเศษ 2562. กายวิภาคศาสตร์ของรากสามสิบ. วารวิจัยรามคำแหงสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.ปีที่22ฉบับ 1 (มกราคม – มิถุนายน)

7. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ อัฐชิราวุทธิ์ มีบุรุษ และภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ. 2561  การขยายพันธุ์มะแขว่น (Zanthoxylum limonella Alston) ในสภาพปลอดเชื้อ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร ปีที่ 49 ฉบับที่1(พิเศษ) :152-154

8. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ และเศรษศิลป์อัมมวรรธน์. 2560.ผลของชิ้นส่วนาวะสกัดต่อสมบัติทางกยภ-เมีละฤธิ์กรต้านอนุมูลอิสระขงสารสกัะแว่น วารรพืศาร์นครินทร์.ปีที่4ฉบับ 3 (กรกฎาคม – กันยายน): 75-81

9. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ และศิริพรรษา ราชวงศ์. 2559.ผลของโซเดียมไฮโปคลอไรท์ต่อการฟอกฆ่าเชื้อที่เหมาะสมในการขยายพันธุ์เมล็ดในสภาพปลอดเชื้อขว่นที่มีบัติต้านอนุมูอิสระสูง. วารสารพืชศาสตร์สงขลานครินทร์ ปีที่ 3 ฉบับพิเศษ (III): M02/68-73

10. ภัทราภรณ์ ศรีสมรรถการ จานุลักษณ์ ขนบดี และพัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ. 2558.เปรียบเทียบคุณภาพทางเคมี-กายภาพ และคุณสมบัติการต้านอนุมูลอิสระของฟักทองพันธุ์พื้นเมืองพันธุ์โอโตะและพันธุ์ทางการค้า.  วารสารเกษตรพระจอมเกล้า 33:ฉบับพิเศษ 1.504-512

11. ยุพา มงคลสุข พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ และวราพร วีระพลากร. 2545. การเพิ่มปริมาณยอดบุกไข่ด้วยเทคนิค Temporary Immersion. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 40.

12. วราพร วีระพลากร พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจและยุพา มงคลสุข. 2545. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไอวี่.การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 40.

13. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ พนิดา วงษ์แหวน วราพร วีระพลากร และยุพา มงคลสุข. 2545.การขยายพันธุ์เท้ายายม่อมในสภาพปลอดเชื้อ.การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 40.

14. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ วราพร วีระพลากร พนิดา วงษ์แหวน และยุพา มงคลสุข. 2545. การศึกษาเทคนิคการขยายพันธุ์กัมปิ(Wikstroemiasikokiana Fr. et. Sav.)ด้วยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ.การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 40.

15. ยุพา มงคลสุข พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ  วราพร วีระพลากร  วิเศษลักษณ์ พงษ์จันทร์  สุรัช พัฒนวงศ์ยืนยง และวิชัย หฤทัยธนาสันติ์. 2544. การพัฒนาเทคนิคการปลูกบุกเพื่อใช้ในอุตสาหกรรม. การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 1.

16. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ วราพร วีระพลากร พนิดา วงษ์แหวน และยุพา มงคลสุข. 2544. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อมันเทศ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 39.

17. วราพร วีระพลากร พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ วรรณา นิ่มลออ และยุพา มงคลสุข. 2544. การเพิ่มปริมาณรากสะสมอาหารของหนอนตายหยากเพื่อใช้ในการสกัดสารออกฤทธิ์. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 39.

18. ยุพา มงคลสุข พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ วราพร วีระพลากร และพนิดา วงษ์แหวน. 2544. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อแพทชูรี. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 39

19. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ สุรียา ตันติวิวัฒน์ ศรีสม สุรวัฒนานนท์ และสุวิทย์ แสงทองพราว. 2543. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อตะลิงปลิง. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 38.

20. ยุพา มงคลสุข พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ พนิดา วงษ์แหวน และวราพร วีระพลากร. 2543. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อหนอนตายหยาก. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 38.

21. ยุพา มงคลสุข พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ วิภารัตน์ รัตนะ พนิดา วงษ์แหวน และวราพร วีระพลากร. 2543. การศึกษาสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของปอสาพันธุ์ญี่ปุ่นในสภาพปลอดเชื้อ.การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 38.

22. ยุพา มงคลสุข มะลิวัลย์ ธนะสมบัติ วิภารัตน์ รัตนะ พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ  พนิดา วงษ์แหวน และวรรณา นิ่มละออ. 2543. การรวบรวมพันธุ์ปอสาจากแหล่งธรรมชาติในประเทศไทยเพื่อการคัดเลือกพันธุ์. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 38.

23. ยุพา มงคลสุข มะลิวัลย์ ธนะสมบัติ วิภารัตน์ รัตนะ พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ พนิดา วงษ์แหวน และวรรณา นิ่มละออ. 2543.การขยายพันธุ์ปอสาด้วยวิธีตัดยอดปักชำ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 38.

24. ยุพา มงคลสุข พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ สุธี ตั๋นสกุล และวิเศษลักษณ์ พงษ์จันทร์. 2544. การขยายพันธุ์บุกเพื่อการปลูกแบบอุตสาหกรรมด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจากส่วนหัวบนใบ. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 38.

25. พัชราวดี วัฒนวิกย์กิจ สุรียา ตันติวิวัฒน์ ศรีสม  สุรวัฒนานนท์ และสุวิทย์ แสงทองพราว. 2542. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อชมพู่มะเหมี่ยว. การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ครั้งที่ 37.

<>